เกาะนาคา

รหัสโรงเรียน : 1083010045

ที่อยู่ : หมู่ 5 บ้านเกาะนาคา หมู่ 1 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง
จังหวัดภูเก็ต รหัสไปรษณีย์ 83110

สถานศึกษาพอเพียง :
  • สถานศึกษาคุณธรรม
  • สถานศึกษาทั่วไป
  • สถานศึกษาพอเพียง
  • สถานศึกษาที่มีผลการปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Partice)
  • ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (Learning center)
สังกัด:

สพป.ภูเก็ต โทร: 076-211591

โครงสร้างพื้นฐาน
  • ไฟฟ้า
ผู้อำนวยการโรงเรียน

นางสาวกุลธิดา พรมทอง

School Agent

ประเภท

Centrality

ระดับชั้น
อนุบาล-ประถมศึกษา
จำนวนครู
5
จำนวนนักเรียน
24
จำนวนประชากร
0

ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

โรงเรียนเกาะนาคา

O-NET ป. 6

ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562

ปีการศึกษา 2562 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน 35.00 46.00 49.17 34.17 41.09
ประเทศ 34.25 37.92 53.59 33.33 39.77

โรงเรียนเกาะนาคา

รหัสโรงเรียน : 1083010045

ที่อยู่ : หมู่ 5 บ้านเกาะนาคา หมู่ 1 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง
จังหวัดภูเก็ต รหัสไปรษณีย์ 83110

สังกัด:

สพป.ภูเก็ต โทร: 076-211591

นางสาวกุลธิดา พรมทอง

ผู้อำนวยการโรงเรียน

School Agent

Centrality

ประเภท

ระดับชั้น

อนุบาล-ประถมศึกษา

จำนวนนักเรียน

จำนวนครูผู้สอน

อัลบั้มภาพ

แผนที่โรงเรียน

ประวัติสถานศึกษา

เกาะนาคา

โรงเรียนบ้านเกาะนาคา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีนักเรียนทั้งหมด 20 คน ข้าราชการครู 1 คน ครูอัตราจ้าง 3 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน และลูกจ้างประจำ 1 คน รวมทั้งสิ้น 6 คน เขตบริการของโรงเรียน คือ หมู่ที่ 5 ( บ้านเกาะนาคา )

ประวัติความเป็นมา

โรงเรียนบ้านเกาะนาคา ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2505 โดยการเริ่มของผู้ใหญ่หมีด ลาวรรณ และความร่วมมือของประชาชนบ้านเกาะนาคา ซึ่งได้ร่วมบริจาคที่ดิน 2 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา เกาะนาคาเป็นเกาะขนาดเล็กมีพื้นที่ 1,500 ไร่เศษ มีชุมชนเพียงชุมชนเดียว อยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะภูเก็ตห่างออกไปประมาณ 4 กิโลเมตร สำหรับรายชื่อของผู้ที่ร่วมบริจาคที่ดินประกอบด้วย

1) นายหมีด ลาวรรณ

2) นายหราบ หวังดี

3) นายหรน ท่อทิพย์

4) นายเหรบ หวังดี

5) นายหล้า สาลิกา

6) นายหมาด สาลิกา

7) นายสมาน ภิบาลฆ่าสัตว์

8) นายอุหมาก ปราบทุกข์

9) นายอุเหร็น ลาวรรณ

10) นายอาทร พันธ์ทิพย์

11) นายบ่าว ท่อทิพย์

12) นายหลี รอบคิด

13) นายกิปา พันธ์ทิพย์

14) นางเสี้ย พันธ์ทิพย์

15) นางห้า คงนาม

16) นายหรีด ท่อทิพย์

17) นายทวีศักดิ์ ท่อทิพย์

18) นายสัน วาหะรักษ์

19) นายลิ่ม แซ่ตัน

ในการดำเนินการครั้งแรกได้สร้างอาคารเรียนขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 15 เมตร หลังคามุงสังกะสีเสาตอไม้แสมกลมเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2505 นายสุเทพ เทพสกุล เป็นครูใหญ่คนแรก เปิดสอนตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 มีนักเรียน จำนวน 25 คน

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเกาะนาคาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอน 2 ระดับ ได้แก่ ระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษา เขตบริการของโรงเรียนครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของเกาะนาคามีพื้นที่ประมาณ 1,500 ไร่ มีประชาชนทุกกลุ่มอายุ 200 คน จาก 32 ครัวเรือน การเดินทางติดต่อเกาะภูเก็ตที่ใช้กันทั่วไปคือเรือหางยาว เส้นทางที่สะดวกที่สุดคือเกาะนาคา – บ้านอ่าวปอ ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร จากบ้านอ่าวปอถึงสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ตประมาณ 30 กิโลเมตร

การตั้งที่อยู่อาศัยของชุมชนจะรวมกลุ่มกันเฉพาะฝั่งด้านที่ติดกับเกาะภูเก็ต เพราะการเดินทางด้วยเรือทางฝั่งนี้สามารถเดินทางได้ตลอดปี สำหรับฝั่งทางด้านทิศตะวันออกช่วงมรสุมเรือที่ใช้อยู่ประจำไม่สามารถใช้เดินทางได้ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งและการทำสวนยางพารา สภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนส่วนใหญ่พอดำรงชีวิตอยู่ตามปกติได้ พื้นที่ของเกาะนาคามีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่สวยงามเหมาะสำหรับการประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว ทำให้มีผู้ลงทุนเข้ามาซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมเป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นต่อไปอีก ขณะนี้มีผู้ประกอบการจำนวน 2 ราย ได้สร้างที่พักสำหรับนักท่องเที่ยวขนาด 400 ห้อง ส่วนการประกอบอาชีพประมงชายฝั่งมีรายได้ลดลงเพราะทรัพยากรชายฝั่งมีจำนวนจำกัดและสภาพแวดล้อมเริ่มเสื่อมโทรม กลุ่มประมงพื้นบ้านของเกาะนาคาได้ร่วมกันกำหนดแนวเขตการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งจำนวน 2 แปลงประกอบด้วย แนวปะการังบริเวณอ่าวหน้าหมู่บ้านและป่าชายเลน เพื่อกำหนดเป็นพื้นที่สำหรับการอนุบาลสัตว์น้ำและเป็นแหล่งอาหารของชุมชน

ภาพทางสังคมประชาชนส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ นับถือศาสนาอิสลามมีวัฒนธรรมเดียว มีสถาบันทางสังคมและสถานที่ราชการประกอบด้วย มัสยิด โรงเรียนและสถานีอนามัย ปัจจุบันมีกลุ่มผู้เข้ามาประกอบอาชีพรับจ้างมาอาศัยอยู่ที่เกาะนาคามากขึ้น เช่น ชาวพม่ามาประกอบอาชีพรับจ้างกรีดยาง

ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้าเริ่มมีเมื่อปลายเดือนพฤษภาคม 2558 ระบบประปาไม่มี สภาพการใช้น้ำช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายนของทุกปี จะประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่มบ้าง เพราะการขุดบ่อน้ำตื้นไม่สามารถขุดได้ทุกพื้นที่ของเกาะบางพื้นที่น้ำมีคุณภาพไม่เหมาะกับการบริโภค

จากที่ผ่านมาจำนวนนักเรียนตั้งแต่เปิดสอนมาเมื่อปีการศึกษา 2505 จนถึงปัจจุบันมีจำนวนนักเรียนเฉลี่ยปีการศึกษาละ 20 คน สาเหตุที่ไม่มีการเพิ่มของจำนวนประชากรเพราะประชากรในพื้นที่ขายที่ดินแล้วอพยพไปประกอบอาชีพอื่นอย่างต่อเนื่อง คงเหลือเฉพาะผู้ที่มีความรักในพื้นที่ภูมิลำเนาเดิมเท่านั้น ปัจจุบันได้มีสถานประกอบการประเภทโรงแรม รีสอร์ทที่เกาะนาคา เมื่อสถานประกอบการเหล่านั้นสามารถดำเนินธุรกิจได้ จะมีผลให้บุคคลเข้ามาประกอบอาชีพมากขึ้นจำนวนประชากรอาจจะเพิ่มขึ้นตามลำดับ ซึ่งจะส่งผลต่ออัตราการเพิ่มประชากรได้ในอนาคต

โรงเรียนบ้านเกาะนาคา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีนักเรียนทั้งหมด 20 คน ข้าราชการครู 1 คน ครูอัตราจ้าง 3 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน และลูกจ้างประจำ 1 คน รวมทั้งสิ้น 6 คน เขตบริการของโรงเรียน คือ หมู่ที่ 5 ( บ้านเกาะนาคา )

ประวัติความเป็นมา

โรงเรียนบ้านเกาะนาคา ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2505 โดยการเริ่มของผู้ใหญ่หมีด ลาวรรณ และความร่วมมือของประชาชนบ้านเกาะนาคา ซึ่งได้ร่วมบริจาคที่ดิน 2 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา เกาะนาคาเป็นเกาะขนาดเล็กมีพื้นที่ 1,500 ไร่เศษ มีชุมชนเพียงชุมชนเดียว อยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะภูเก็ตห่างออกไปประมาณ 4 กิโลเมตร สำหรับรายชื่อของผู้ที่ร่วมบริจาคที่ดินประกอบด้วย

1) นายหมีด ลาวรรณ

2) นายหราบ หวังดี

3) นายหรน ท่อทิพย์

4) นายเหรบ หวังดี

5) นายหล้า สาลิกา

6) นายหมาด สาลิกา

7) นายสมาน ภิบาลฆ่าสัตว์

8) นายอุหมาก ปราบทุกข์

9) นายอุเหร็น ลาวรรณ

10) นายอาทร พันธ์ทิพย์

11) นายบ่าว ท่อทิพย์

12) นายหลี รอบคิด

13) นายกิปา พันธ์ทิพย์

14) นางเสี้ย พันธ์ทิพย์

15) นางห้า คงนาม

16) นายหรีด ท่อทิพย์

17) นายทวีศักดิ์ ท่อทิพย์

18) นายสัน วาหะรักษ์

19) นายลิ่ม แซ่ตัน

ในการดำเนินการครั้งแรกได้สร้างอาคารเรียนขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 15 เมตร หลังคามุงสังกะสีเสาตอไม้แสมกลมเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2505 นายสุเทพ เทพสกุล เป็นครูใหญ่คนแรก เปิดสอนตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 มีนักเรียน จำนวน 25 คน

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเกาะนาคาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอน 2 ระดับ ได้แก่ ระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษา เขตบริการของโรงเรียนครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของเกาะนาคามีพื้นที่ประมาณ 1,500 ไร่ มีประชาชนทุกกลุ่มอายุ 200 คน จาก 32 ครัวเรือน การเดินทางติดต่อเกาะภูเก็ตที่ใช้กันทั่วไปคือเรือหางยาว เส้นทางที่สะดวกที่สุดคือเกาะนาคา – บ้านอ่าวปอ ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร จากบ้านอ่าวปอถึงสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ตประมาณ 30 กิโลเมตร

การตั้งที่อยู่อาศัยของชุมชนจะรวมกลุ่มกันเฉพาะฝั่งด้านที่ติดกับเกาะภูเก็ต เพราะการเดินทางด้วยเรือทางฝั่งนี้สามารถเดินทางได้ตลอดปี สำหรับฝั่งทางด้านทิศตะวันออกช่วงมรสุมเรือที่ใช้อยู่ประจำไม่สามารถใช้เดินทางได้ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งและการทำสวนยางพารา สภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนส่วนใหญ่พอดำรงชีวิตอยู่ตามปกติได้ พื้นที่ของเกาะนาคามีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่สวยงามเหมาะสำหรับการประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว ทำให้มีผู้ลงทุนเข้ามาซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมเป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นต่อไปอีก ขณะนี้มีผู้ประกอบการจำนวน 2 ราย ได้สร้างที่พักสำหรับนักท่องเที่ยวขนาด 400 ห้อง ส่วนการประกอบอาชีพประมงชายฝั่งมีรายได้ลดลงเพราะทรัพยากรชายฝั่งมีจำนวนจำกัดและสภาพแวดล้อมเริ่มเสื่อมโทรม กลุ่มประมงพื้นบ้านของเกาะนาคาได้ร่วมกันกำหนดแนวเขตการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งจำนวน 2 แปลงประกอบด้วย แนวปะการังบริเวณอ่าวหน้าหมู่บ้านและป่าชายเลน เพื่อกำหนดเป็นพื้นที่สำหรับการอนุบาลสัตว์น้ำและเป็นแหล่งอาหารของชุมชน

ภาพทางสังคมประชาชนส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ นับถือศาสนาอิสลามมีวัฒนธรรมเดียว มีสถาบันทางสังคมและสถานที่ราชการประกอบด้วย มัสยิด โรงเรียนและสถานีอนามัย ปัจจุบันมีกลุ่มผู้เข้ามาประกอบอาชีพรับจ้างมาอาศัยอยู่ที่เกาะนาคามากขึ้น เช่น ชาวพม่ามาประกอบอาชีพรับจ้างกรีดยาง

ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้าเริ่มมีเมื่อปลายเดือนพฤษภาคม 2558 ระบบประปาไม่มี สภาพการใช้น้ำช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายนของทุกปี จะประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่มบ้าง เพราะการขุดบ่อน้ำตื้นไม่สามารถขุดได้ทุกพื้นที่ของเกาะบางพื้นที่น้ำมีคุณภาพไม่เหมาะกับการบริโภค

จากที่ผ่านมาจำนวนนักเรียนตั้งแต่เปิดสอนมาเมื่อปีการศึกษา 2505 จนถึงปัจจุบันมีจำนวนนักเรียนเฉลี่ยปีการศึกษาละ 20 คน สาเหตุที่ไม่มีการเพิ่มของจำนวนประชากรเพราะประชากรในพื้นที่ขายที่ดินแล้วอพยพไปประกอบอาชีพอื่นอย่างต่อเนื่อง คงเหลือเฉพาะผู้ที่มีความรักในพื้นที่ภูมิลำเนาเดิมเท่านั้น ปัจจุบันได้มีสถานประกอบการประเภทโรงแรม รีสอร์ทที่เกาะนาคา เมื่อสถานประกอบการเหล่านั้นสามารถดำเนินธุรกิจได้ จะมีผลให้บุคคลเข้ามาประกอบอาชีพมากขึ้นจำนวนประชากรอาจจะเพิ่มขึ้นตามลำดับ ซึ่งจะส่งผลต่ออัตราการเพิ่มประชากรได้ในอนาคต

แขวง / ตำบล : ป่าคลอก

เขต/อำเภอ : ถลาง

จังหวัด : ภูเก็ต

ประชากร

(ข้อมูลปี 2566)

0

รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน

(ข้อมูลปี 2561 จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ)

0 บาท

จำนวนนักเรียน : 24 คน

เพศ

ชาย 10 คน
หญิง 14 คน

ระดับชั้น

อนุบาล 6 คน
ประถม 18 คน
มัธยม 0 คน

ศาสนา

พุทธ 0 คน
คริสต์ 0 คน
อิสลาม 0 คน
อื่น ๆ 0 คน

จำนวนครู : 5 คน

เพศ

ชาย 0 คน
หญิง 0 คน

การศึกษา

ปริญญาตรี 0 คน
ปริญญาโท 0 คน
ปริญญาเอก 0 คน

ตำแหน่ง

  • ครู คศ. 1

    0 คน

  • ครู คศ. 2

    0 คน

  • ครู คศ. 3

    0 คน

  • ครู คศ. 4

    0 คน

  • ครู คศ. 5

    0 คน

  • ครูผู้ช่วย

    0 คน

  • ครูอัตราจ้าง

    0 คน

  • พนักงานราชการ

    0 คน

ครูและบุคลากรทางการศึกษา

ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

โรงเรียนเกาะนาคา

O-NET ป. 6

ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562

ปีการศึกษา 2562 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน 35.00 46.00 49.17 34.17 41.09
ประเทศ 34.25 37.92 53.59 33.33 39.77

แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเกาะนาคา

รวมโครงการที่ทำทั้งหมด

โครงการ

งบประมาณรวมทั้งหมด

0 บาท

ดาวน์โหลดข้อมูล

โครงการโรงเรียนปี 2560-2562
PRINT
\